วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 15


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 15
วันจันทร์ ที่ 5 พฤษภาคม  พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30
(เรียนชดเชย)



การออกแบบต้องอาศัยเทคนิคเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็กสอนจากง่ายไปหายาก
การออกแบบมีเทคนิคดังนี้ 
1 นิทาน 
2 คำคล้องจอง
3 เพลง
4 เกมส์ 
5 การตั้งคำถาม

ลักษณะพัฒนาการอย่างต่อเนื่องการเปลี่ยนแปลงเป็นลำดับขั้น
นิยามพัฒนาการหรือความหมาย ความสามารถในช่วงอายุของแต่ละอายุและแต่ละวัย
การเอาสาระการเรียนรู้มาสอนเราต้องดูที่หลักสูตรที่มีอยู่ 4 สาระคือดังนี้
1 เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก 
2 บุคคลและสถานที่ 
3 ธรรมชาติ 
4 สิ่งต่างๆรอบตัว
ประสบการณ์สำคัญจะต้องให้เด็กมีความรู้ให้เด็กมีทักษะทางด้านร่างกายอารมณ์จิตใจสังคมและสติปัญญาเพื่อตอบสนองกับมาตรฐาน
ด้านร่างกาย
👉การรักษาสุขภาพ
👉การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่
👉การสัมพันธ์ระหว่างประสาทสัมผัสมือกับตา
ด้านอารมณ์จิตใจ
👉การแสดงออกจากความรู้สึก
👉การโต้ตอบอารมณ์และความรู้สึกของผู้อื่น
ด้านสังคม
👉การปฏิบัติตน
👉การช่วยเหลือผู้อื่น
👉การอยู่กับผู้อื่น
👉การช่วยเหลือตนเอง
ด้านสติปัญญา
👉การใช้ภาษาการพูดการอ่านการเขียนและการฟัง
👉การคิดคิดสร้างสรรค์คิดเชิงเหตุผล
👉คณิตศาสตร์ประกอบด้วย 6 สาระ
1.จำนวนและการดำเนินการ  
       2.การวัด 
       3.เรขาคณิต  
       4.พีชคณิต  
       5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
       6.ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์


วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 14

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 14
วันจันทร์ ที่ 27 เมษายน  พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30


อาจารย์พูดถึงคลิปสาธิตการสอนของอาทิตย์ที่แล้วไปนิดนึงแล้วก็มาเปิดแผนที่ที่แก้ไข 4 โดยการตรวจของทุกวันและอธิบายการนักศึกษาเข้าใจ

1.ตั้งปริศนาคำทายให้เด็กตอบ และถามชื่อของกล้วยชนิดต่างๆ
2.ให้เด็กลองสังเกตลักษณะด้วยตาก่อน เช่น สี รูปทรง เป็นลำดับแรกถามเด็กและบันทึกลงในตาราง
3.ให้เด็กได้ลองสัมผัสพื้นผิว ดมกลิ่น รูปร่าง และชิม ถามเด็กและบันทึกลงในตาราง
4.ต้องมีการสรุป ว่ากล้วยแต่ละชนิดมีความเหมือนและแตกต่างกันตรงไหน

โดยอาจารย์ให้ทำคลิปวิธีการสอน วันอังคาร(ลักษณะ)โดยใช้ปากกาแทนหน่วยของตนเอง



ประเมิน
            ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์ แต่ก็ยังไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร 
            ประเมินเพื่อน :ตั้งใจฟังที่อาจารย์บอกอธิบาย
            ประเมินอาจารย์: อธิบายการเขียนแผนการจัดประสบการณ์อย่างระเอียด

วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2563

คลิปสาธิวิธีการสอน เรื่องเครื่องเขียน



สาธิวิธีการสอนคณิตศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง เครื่องเขียน



คลิปร้องเพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน

เพลง⇨เดือนหนึ่งปีมีสิบสอง


👉เนื้อเพลเดือนง:หนึ่งปีมีสิบสอง👈
หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน  อย่าลืมเลื่อนจำไว้ให้มั้ย
หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ บึ้ม

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 13


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 13
วันจันทร์ ที่ 20 เมษายน  พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30

เนื้อที่เรียน
อาจารย์ทบทวนการเขียนแผน และสอนเรื่องวิธีการสอนเด็กโดยอาจารย์ได้สาธิตให้ดู อาจารย์บอกอย่างละเอียด และมีการร้องเพลงก่อนเริ่มต้นในการสอน แล้วอาจารย์ก็ได้ให้เตรียมอุปกรณ์ในการสอนเด็ก เรื่องที่สอนเรื่อง เครื่องเขียน
        
อุปกรณ์การสาธิตวิธีการสอน  
           👇👇👇👇👇
              1.ปากกา
              2.ดินสอ
              3.ปากกาเมจิ
              4.ข้าวสาร
              5.ตะเกียบ

คำศัพท์
1.Pen ปากกา
2. Pencil ดินสอ
3.Meiji pen ปากกาเมจิ
4.rice   ข้าวสาร
5.Chopsticks ตะเกียบ

ประเมิน
            ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์ แต่ก็ยังไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร 
            ประเมินเพื่อน :ตั้งใจฟังที่อาจารย์บอกอธิบาย
            ประเมินอาจารย์: อธิบายการเขียนแผนการจัดประสบการณ์

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 12



บันทึกการเรียน ครั้งที่ 12
วันจันทร์ ที่ 13 เมษายน  พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30

เนื้อที่เรียน
สอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเเก้ไขเเผนการจัดประสบการณ์จากสัปดาห์ที่เเล้วเพราะเนื่องจากต้องเพิ่มเติมเนื้อหาที่แล้วเพื่อให้เข้าใจง่ายมากขึ้นหรือให้สอนง่ายขึ้น

การเปรียบเทียบ และการสรุปต่างๆ

คำศัพท์
1.Comparison การเปรียบเทียบ
2.conclude สรุป
3.understand เข้าใจ
4.experience ประสบการณ์
5.week สัปดาห์

ประเมิน
            ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์
            ประเมินเพื่อน :ตั้งใจฟังที่อาจารย์บอก
            ประเมินอาจารย์: อธิบายการเขียนแผนการจัดประสบการณ์

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 11


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 11
วันจันทร์ ที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30
เนื้อที่เรียน
    สาระการเรียนรู้ 
                  1.สาระที่ควรรู้ 
                         👉เกี่ยวกับตัวเด็ก
                         👉เกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
                         👉ธรรมชาติรอบตัว
                         👉สิ่งต่างๆรอบตัว
                  2.ประสบการณ์สำคัญ
                         เนื้อหาเป็นเพียงที่ต้องการให้เด็กได้ประสบการณ์โดยใช้เนื้อหาสาระมาเป็นตัวดำเนินวิธีการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
👍ภาษากับวิทยาศาสตร์จะเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ด้านการคิดสร้างสรรค์
👍ภาษากับคณิตศาสตร์จะเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


คำศัพท์
1.science วิทยาศาสตร์
2.Creative thinking คิดสร้างสรรค์
3.tool เครื่องมือ
4.nature ธรรมชาติ
5.The location สถานที่
ประเมิน
            ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์
            ประเมินเพื่อน :ตั้งใจฟังที่อาจารย์บอก
            ประเมินอาจารย์: อธิบายการเขียนแผนการจัดประสบการณ์

วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 10


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 10
วันจันทร์ ที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30

#เรียนออนไลน์
เนื้อที่เรียน
 การเขียนแผนการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
               องค์ประกอบของการเขียนแผนจัดประสบการณ์ 
👉วัตถุประสงค์

👉สาระที่ควรเรียนรู้
👉เนื้อหา
👉แนวคิด
👉ประสบการณ์สำคัญ
👉กรอบพัฒนาการและกิจกรรม
👉บูรณการทักษะรายวิชา
👉กิจกรรมเสริมประสบการณ์



 ตัวอย่างการเขียนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ วันพุธ
การดูแลรักษา กล้ยว


คำศัพท์

1.banana กล้วย
2.Care การดูแล
3.Mathematics   คณิตศาสตร์
4.objective วัตถุประสงค์
5.concept แนวคิด

ประเมิน
            ประเมินตนเอง : ค่อยข้างไม่ค่อยเข้าใจอาจจะเป็นเพราะเรียนออนไลน์ยังไม่ค่อยคุ้นเคย
            ประเมินเพื่อน : ค่อนข้างตั้งใจฟังที่อาจารย์บอก
            ประเมินอาจารย์: อธิบายการเขียนแผนการจัดประสบการณ์

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 9






บันทึกการเรียน ครั้งที่ 9
วันจันทร์ ที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30

#เรียนออนไลน์


ดูความเรียบร้อยของการทำ blogger หรือแฟ้มสะสมผลงาน


วันจันทร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2563

คลิปเพลงนับเลข 1-10



คลิปเพลงนับเลข 1-10 พร้อมท่าเต้น


เนื้อเพลง


เพลงนับ 1-10

1 2 3 4 5   ตื่นมายามเช้าสดใส

6 7 8 9 นั้นไง (ซ้ำ)

นับต่อไปเร็วไว เลข 10 (ซ้ำา)


สรุปตัวอย่างการสอน


สรุปตัวอย่างการสอน

ทักษะพื้นฐาน คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

จัดทำโดย : คุณครูขนิษฐา บุนนาค (Krumam)


การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นับว่ามีบทบาทสำคัญอย่างมากในชีวิตประจำวัน แต่การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยนั้น มีความแตกต่างจากการเรียนคณิตศาสตร์ใน ระดับอื่น ๆ เพราะพัฒนาการของเด็กนั้นต่างจากวัยอื่น 
เพราะนอกจากจะใช้สถานการณ์ในชีวิตประจำวันแล้วยังต้องอาศัยการเตรียมการและวางแผนอย่างดี เพื่อให้เด็กได้มี โอกาสค้นคว้าแก้ปัญหา เรียนรู้การพัฒนาความคิดรวบยอด และสิ่งที่สำคัญคณิตศาสตร์ไม่ใช่สิ่งที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางคำนวณแต่เพียงอย่างเดียวหรือไม่ได้มีความหมายเพียงตัวเลขสัญลักษณ์เท่านั้น แต่ยังช่วยส่งเสริมการสร้างและใช้หลักการรู้จักการคาดคะเน ช่วยในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และจากความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรส่งเสริมให้เด็กได้คิดอย่างอิสระบนความสมเหตุสมผล ไม่จำกัดว่าการคิดคำนวณต้องออกมาเพียงคำตอบเดียวหรือมีวิธีการเดียว
เด็กต้องเรียนรู้อย่างมีความสุขจากสื่อที่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรม(ถ้าใช้สื่อเป็นของจริงได้ก็จะยิ่งดีค่ะ)เพราะเด็กในวัยนี้จะเรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสการรับรู้และการเคลื่อนไหวและเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาในการจัดการเรียนรู้ให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสให้มากที่สุดเพราะจะช่วยกระตุ้นให้เด็กได้คิดและได้ลงมือปฏิบัติจริง ยกตัวอย่าง เช่น การเรียงลำดับ 
การเรียงลำดับ คือการจัดสิ่งของชุดหนึ่ง ๆ ตามคำสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดดินสอ 5 แท่งที่มีความยาวไม่เท่ากัน ให้เรียงตามลำดับจากสูงไปต่ำหรือจากสั้นไปยาว


แผนการสอน เรื่องการเรียงลำดับ
ขั้นนำ
ครูและเด็กร่วมกันสนทนาในเรื่องการเรียงลำดับ

ขั้นดำเนินการสอน 
ครูได้ให้เด็กลงมือปฏิบัติในการเรียงลำดับ สูงหรือต่ำ สั้นหรือยาว

ขั้นสรุป 
ให้เด็กได้นำเสนอว่าสิ่งที่เขาได้เรียงนั้น เป็นสิ่งของสูงหรือต่ำ และสั้นหรือยาว 

สรุปวิจัย




สรุปวิจัย

เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร

ของ
สุภนันท์  พลายแดง

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก  ผู้ช่วยศาตราจารย์ สุมาลี งามสมบัติ
วิทยานิพนธ์ครุศาสาตร์มหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี



     การจัดประสบการณ์เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์นั้นสามารถวัดได้หลากหลายรูปแบบครูสามารถสอดแทรกเข้ากับกิจกรรมต่างๆที่เด็กๆทำได้แนวทางการจัดประสบการณ์ทางดา้นคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัยนั้นเด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากของจริงและในการสอนจะต้องหาอุปกรณ์ซึ่งเป็นของจริงให้มากที่สุด และเริ่มจากการสอนแบบรูปธรรมไปหานามธรรม เริ่มจากสิ่งง่าย ๆ ใกล้ตัว และคิดจากปัญหาในชีวิตประจำวัน ให้เด็กได้ค้น คว้าด้วยตนเอง และเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน 
กิจกรรมการประกอบอาหารจึงเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเด็กในการพัฒนาความพร้อมในเรื่องการสังเกตจำแนกเปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรียงลำดับและการวัด ซึ่งเป็นการวางรากฐานที่สำคัญ ต่อ การเรียนคณิตศาสตร์ในขั้นสูงต่อไปเพราะการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารเป็นกิจกรรมที่เด็กๆจะได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากกระบวนการในการทำอาหารเด็กจะได้ลงมือปฏิบัติจริงตั้งแต่การจัดเตรียมอุปกรณ์ส่วนผสมของอาหารประเภทต่างๆและการผสมส่วนผสมต่างๆตามขั้นตอนซึ่งเด็กต้องใช้การเปรียบเทียบรูปทรงการนับจำนวนการเรียงลำดับและการวัดซึ่งเป็นการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กทั้งสิ้นเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และเพื่อให้เด็กสามารถนำทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป 


วัตถุประสงค์การวิจัย 
1. เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารที่มีต่อทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 
2. เพื่อเปรียบเทียบทกัษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์โดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร

ขอบเขตของการวิจัย

 1. ประชากร 
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชาย - หญิง อายุระหว่าง 3-4ปี ที่ กำลังศึกษาอยู่ในระดับ ชั้นอนุบาลปีที่1 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2553ของโรงเรียนมิตรภาพที่ 34 อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน ทั้งหมด 30 คน

 2.กลุ่มตัวอย่าง
 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวจิยัครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชาย- หญิง อายุระหว่า ง 3-4 ปีที่กำลังศึกษาอย่ใู นระดับชั้นอนุบาลปีที่1 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนมิตรภาพที่ 34 อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 15 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการคัดเลือกเด็กที่มีคะแนน ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสาตร์ค่อนข้างต่า จากแบบวัดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 

3. ตัวแปรที่ศึกษา 
3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจ้ดกิจกรรมการประกอบอาหาร 
3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 14 

4. ระยะเวลาในการทดลอง 
การทดลองครั้งนี้กระทำในภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2553 ใช้เวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที 

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
แผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารผู้วจิยัได้ดำเนินตามขั้นตอนดังนี้
 1. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 ในการศึกษาและ วิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัยู้ผวิจัยได้ดำเนินการดังนี้
 1.1 วิเคราะห์องค์ประกอบของหลักสูตร 
1.2 วิเคราะห์กิจกรรมหน่วยสาระการเรียนรู้โดยการนำเอากิจกรรมที่กำหนดใน หน่วยสาระการเรียนรู้มาวิเคราะห์หารูปแบบการสอน
 2. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักการจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์แบบโครงการและทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 
3. สร้างแผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยตามหน่วยการเรียนรู้1 หน่วย คือ หน่วย อาหารดีมีประโยชน์จำนวน 18 แผน เพื่อใช้ ในการจัดกิจกรรม 6 สัปดาห์ๆ ละ 3 วัน 
4. นำแผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารเสนอผู้เชี่ยวชาญทางด้านการศึกษา ปฐมวัย หลักสูตรการสอน และการวิจัย จำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความตรงตามโครงสร้าง ทฤษฎี(Construct validity) 
5. เก็บรวบรวมผลการประเมินจากผูเ้ชี่ยวชาญมาคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคลอ้ง ระหว่างกิจกรรมกับวัตถุประสงค์การวิจัย
6. คัดเลือกแผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.50-1.00 ไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมตามคำแนะนา ของผเู้ชี่ยวชาญเพื่อนำไปใช้ทดลองต่อไป 

สรุปผลการวิจัย 
         เด็กปฐมวยัที่ได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารก่อนและหลังการทดลอง มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 โดยค่าเฉลี่ยรวมหลังการทดลองมีค่าสูงกวา่ ก่อนการทดลอง ซึ่งแสดงวา่ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังการทดลองสูงกว่า ก่อนการทดลองซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไวกิจกรรมการประกอบอาหารเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กได้ เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 โดยเฉพาะในการวิจัยผู้วิจัยได้ให้เด็กทุกคนเป็นผู้ลง มือทำร่วมกัน ชิมติชมรสชาติของอาหาร ร่วมกันกะประมาณ เปรียบเทียบขนาด นับจำนวนและ จับคู่ของส่วนประกอบของอาหารทุกคร้ัง เพราะผู้วิจัยตระหนักดีว่า เด็กจะเกิดการเรียนรู้ที่ดีได้ต้อง ผ่านกระบวนการคิดและลงมือกระทำด้วยตนเอง



วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 8



บันทึกการเรียน ครั้งที่ 8
วันจันทร์ ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2563
เวลา 08:30-12:30

 การบูรณาการสาระคณิตสสาสตร์ เข้ากับหน่วยการเรียนรู้โดยผ่าน 6 กิจกรรมหลักของเด็กปฐมวัย 
จะเป็นการบูรณาการทั้ง 5 วัน (1สัปดาห์) 

หน่วยการเรียนรู้เรื่องกล้วย
→ ชนิด
→ ลักษณะ
→ การดูแลรักษา
→ ประโยชน์
→ โทษ
แล้วก็นำหัวข้อแต่ละหัวข้อมาทำเป็นแผนการสอนแต่ละวัน

วันจัทร์ สอนเกี่ยวกับชนิดของกล้วย
วันอังคาร สอนเกี่ยวกับลักษณะของกล้วย
วันพุธ สอนเกี่ยวกับการดูแลรักษาของกล้วย
วันพฤหัส สอนเกี่นวกับประโชยน์
วันศุกร์ สอนเกี่ยวกับโทษ


ตัวอย่างวันพุธ

เนื้อหา  อุปกรณ์การปลูก  • เสียม
                                       • บัวรดน้ำ
                                       • ที่พรวานดิน

             ขั้นตอนการปลูก   • เตรียมดิน
                                       • ขุดหลุม
                                       • เอาหน่อกล้วยลงดิน
                                       • กลบดิน
                                       • รดน้ำ

              การดูแล             • รดน้ำ
                                       • ใส่ปุ๋ย
                                       • กำจัดวัชพืช

สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ปริมาณการรดน้ำ และใส่ปุ๋ย
                                         • วัน เวลา การรดน้ำและใส่ปุ๋ย
                                         • ลำดับขั้นตอนในการปลูก

 การจัดประสบการณ์        • ครูอธิบายขั้นตอนการปลูก
                                     • ครูแจกอุปกรณ์การปลูก
                                     • ครูและนักเรียนช่วยกันปลูก

คำศัพท์
1.Raw material  วัตถุดิบ
2.Equipment      อุปกรณ์
3.Mathematics   คณิตศาสตร์
4.Duration          ระยะเวลา
 5.Rank                ลำดับขั้น 

  ประเมิน
               ประเมินตัวเอง  ตั้งใจฟังอาจาร์อธิบาย ตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถาม ถามอาจารย์เมื่อไม่เข้าใจ
               ประเมินเพื่อน   ตั้งใจและทำงานอย่างตั้งใจ
               ประเมินอาจารย์  อธิบายการทำมายแมทและการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์โดยผ่านหน่วยการเรียนรู้และผ่านกิจกรรมทั้ง6กิจกรรม